ข้อมูล Encephalartos natalensis

ข้อมูล Encephalartos natalensis (แปลมาจากหนังสือ South africa)

ในปี ค.ศ. 1951 โดย Robert Allen Dyer และ Inez Clare Verdoorn ได้สร้างการการแบ่งหมวดหมู่ในกลุ่มนี้ิ เมื่อพืชทั้งหมดอยู่ที่ระดับความสูงต่างๆ พืชบางสายพันธุ์ได้ถูกรู้จักในชื่อ E.altensteinii ถึงระดับของการแยกในสายพันธุ์นี้ ชื่อในภาษาลาติน natalensisมาจากคำว่า ” Natal”

คำอธิบาย

มีความกว้างขวางในสายพันธุ์นี้มาก ที่ว่าจะต้องแบ่งกลุ่มของ E.natalensis ที่ว่า มันอาจจะเป็นไปไม่ได้ที่จะแบ่งแต่ละ form ออก มาจากรายละเอียด รูปแบบตัวอย่างมาจาก the Krantzkloof area ระหว่าง durbanและ Pietermaritzburg ใน KwaZulu-Natal ลักษณะของใบในสายพันธุ์นี้แตกต่างจากข้อมูลจากรูปแบบบางรูปแบบในการเอาใจใส่ที่เกี่ยวกับ spininess ,the length-to-width retio ,pp-,pr- และ s-angleของใบย่อยต่างๆ the woolliness และจำนวนของ basal spinesของใบ และความยาวของ the petiole

Habitat

สายพันธุ์นี้เกิดขึ้นจาก Tabankulu ในทางทิศเหนือของเมือง Eastern Cape ผ่านมาทาง KwaZulu-Natal ขึ้นไปทางพื้นที่ด้านบนของพื้นที่กักเก็บน้ำ The Umfolozi river ใกล้ Vryheid ในทางทิศ เหนือ

มันมักจะพบเกาะอยู่บนริมโขดหินหน้าผาและทางลาดชัดในพื้นที่โปร่งระหว่างเกาะอยู่เป็นเกิดเป็นพุ่มหรือเป็นลำต้น พื้นที่ท่ี่แน่นอนมันเจริญเติบโตในบริเวณริมชายฝั่งแต่ว่ามันจะพบบริเวณที่ไกลจากชายที่ภายในที่เป็นพื้นดินของแต่ล่ะบริเวณ ระดับที่อยู่จะสูงกว่าระดับน้ำทะเลซึ่งจะมีการตกของน้ำฝนตลอดปีซึ่งฝนตกส่วนใหญ่จะตกในหน้าร้อน การพิจารณาขึ้นอยู่กับพื้นที่ บางพื้นที่อาจจะไม่น้ำแข็งเกิดขึ้นขณะที่ผู้เชี่ยวชาญหลายๆท่านพบว่าจะอาศัยอยู่บริเวณที่มีน้ำแข็งเกิดขึ้นที่หน้าหนาว

Cultivation

พืชสายพันธุ์นี้การเจริญเติบโตสัมพันธุ์กับความเร็วและการผ่านของแสงแดดอ่อนๆ บาง Forms สามารถทนระดับน้ำแข็งได้มากกว่ารูปแบบอื่นแต่ว่าทั้งหมดนี้มันจะมีชีวิตรอดได้ต้องมีปริมาณน้ำแข็งที่เกิดขึ้นแบบเบาบาง สายพันธุ์นี้สามารถขยายพันธุ์ได้โดยทางเมล็ดและทางแตกหน่อ

ลำต้น(stem) :

ลำต้นจะตั้งขึ้นตรงในอากาศ ซึ่งบางครั้งอาจจะมีกิ่งก้าน บางครั้งอาจจะยาวขึ้นไปแต่ว่าอาจจะมีการโค้งถึงการการเลื้อยเมื่อยาวและเกิดหน่อขึ้นมา ลำต้นสามารถยาวขึ้นได้มากถึง 6.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 250-400 มิลลิเมตร และจะมีขนสีน้ำตาลทองของปลายยอดลำต้นเพิ่มขึ้น ก่อนที่จะมี Cone หรือว่ามีการแตกใบใหม่ขึ้นมา

ใบย่อยทั้งหมด(Leaves) :

ในหลายๆกรณีนั้นใบจะมีสีเขียวแก่เข้มที่บนหน้าใบ ส่วนบางรูปแบบอาจจะมีสีเขียวที่สว่างกว่าและอ่อนกว่าที่ตรงด้านหลังใบและจุดเริ่มต้นมีชั้นบางๆของขนสีเงิน ซึ่งในหลายกรณีอาจจะทำให้ขนหายหลุดออกไป ใบย่อยทั้งหมดจะตรง แต่ว่าในบางครั้งปลายก้านใบจะมีความโค้ง โดยเฉพาะที่ปลายใบ ก้านใบทั้งหมดนี้จะเป็นก้านแข็ง มีความยาว 1.3-3.2 เมตร

ด้วย pp-angleซึ่งจะมีค่าจาก 80°-200° ในความแตกต่างของแต่ล่ะ form

ค่า pr-angle ของส่วนที่เป็นกลางใบและมีค่ามากมายในความแตกต่างของรูปแบบของสายพันธุ์นี้ จะมีค่า 50°-90° และมีขนาดเล็กลงที่ปลายใบมากกว่าในแถบโซนกลางของสายพันธุ์นี้  ขึ้นอยู่กับรูปแบบของสายพันธุ์

มีค่า s-angle ในพื้นที่โซนกลางจะมีค่าหลายค่าตั้งแต่ -45° ถึง +30° ในบางรูปแบบใบอาจจะมีการทับซ้อนกันได้ลึกมาก ขณะที่หลายๆฟอร์มอาจจะไม่มีการทับซ้อนกันเลย ใบที่ตายไปแล้ว (dead )จะเห็นว่าถูกแยกออก

Petiole: มีความยาว  50-200 มิลลิเมตร และในบาง Formsมันจะเริ่มต้นด้วยขนสีเงินๆภายนอกและอาจจะหลงเหลือบางเมื่อระยะเวลาผ่านไปเป็นเวลานาน

Median leaflets : มีความยาว 120-250 มิลลิเมตร ความกว้าง 25-45 มิลลิเมตร ใบจะมีลักษณะคล้ายหนัง(leathery)และมีปุ่มเล็กๆที่ผิวใบ ในบางกรณีเช่น “Julivert Form” ที่ขอบใบจะมีการโค้งลง(downward)รอบๆ แต่จะนูน-ขึ้นในทิศทางบนหน้าใบ   ในบางกรณี ตัวอย่างเช่น “Greytown” ,”Malakatha” , “Nhazatshe  ” and ” Noodsberg forms”  ที่บนหน้าใบในทางแนวขวางจะมีการเว้าลงตรง หรือในทางแนวยาวจะมีการนูนขึ้นมาเล็กน้อย ในบาง Form ขอบใบจะไม่มีหนาม ขณะที่บาง Forms ขอบใบจะมีหนามเล็กๆเกิดขึ้น(small pungent teeth) บางทีขอบใบก็จะเป็นลอนเกิดขึ้น ที่เรียกว่า “Highflats form” ที่ปลายใบจะเป็นหนามแหลมแต่ว่าสามารถที่จะโค้งลงแล้วม้วนขึ้นกลับมาได้(curve strong downwards and inwards)ซึ่งอยู่ในชื่อ ” Harding form”

Basal leaflets: ใบในส่วนนี้จะลดขนาดลงเล็กน้อยในขนาดในส่วนใบฐานจะมีประมาณ 5 คู่ของใบ spinesหรือมากกว่า  อย่าง form ที่แน่นอน เช่น “Noodsberg form” อย่างไรก็ตามมีแบบ a long series ของ basal spines

Cones : Cones ของ Male cones และ Female cones มีสีส้มอมเหลือง ถึง ส้มอมสีแดง

Male cones: สามารถขึ้นได้ถึง 5 cones สามารถผลิตได้ต่อฤดูต่อลำต้น และมีความยาว 450-500 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 100-150 มิลลิเมตร มีความยาว 120-140 มิลลิเมตร Pollen shedding มักจะออกในเดือน เมษายน-มิถุนายน

Female cones: สีน้ำตาลเป็นส่วนใหญ่ในการปรากฎ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การมีเริ่มที่ภายนอกจะมีการปกคลุมหลังจากปรากฎหลังจากนั้น สามารถออกผลิตได้ 4 Cones ต่อฤดูต่อต้น ทั้งหมดนี้500-600 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 250-300 มิลลิเมตร และปรากฏว่าระยะแทบชิดติดกับยอดของลำต้นโดยมี Cataphylls ของลำต้นซึ่งสังเกตได้ง่ายจาก Peducles  โดย Cones สลายตัวเป็น Spontaeously ระหว่าง พฤศจิกายน-มกราคม จะมี 415-510 omnules

Seeds :  Bright red  25-35 มิลลิเมตร  และเส้นผ่านศูนย์กลาง 12-18 มิลลิเมตร the sarcotesta index จะมีค่า 42% และ the sarcotesta กลายเป็น mucilaginous เพื่อแตกออกแบบ ripening

Seed kernels : ความยาว 14-21 มิลลิเมตร และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 9-15 มิลลิเมตร ซึ่งจะมี 10-12 ในก้านความยาว ซึ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งเด่นทางระยะและใกล้จุดปลายสุด

Note

เพราะว่าสายพันธุ์นี้เกิดขึ้นหลายรูปแบบของสายพันธุ์นี้และบางกลุ่มได้ถูกสูญพันธุ์ไปแล้ว มันเป็นส่วนสำคัญที่นักสะสมได้เก็บสะสมอย่างระมัดระวังได้มีการจดบันทึกถึงพืชสายพันธุ์นี้ในกรณีที่สถานที่ที่พืชเกิดขึ้นให้เป็นที่รู้จักกัน ที่ๆอาจจะเป็นไปได้ที่เกิดความเหมาะสมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเกิดรูปแบบที่เกิดการผสมมาเป็น Hybridisation

มันเป็นเรื่องยากที่จะพิจารณาระหว่าง Form ของ Encephalartos natalensis และ Encephalartos aemulans ,Encephalartos altensteinii ,Encephalartos lebomboensis ,Encephalartos msinganus ,Encephalartos senticosus ในรูปแบบ form ที่สำคัญที่สุดของ E.natalensis โดย the basal leaflets จะลดขนาดลงสู่โคนก้านใบถึงการเรียงลำดับสั้นๆประมาณ 4-10 spines และใบจะมีความสำคัญกับ petiole สั้นๆ เปรียบเทียบกับโคนก้านใบ(the basal leaflet) ของ E.altensteinii จะไม่ลดขนาดถึง spines ทั้งหมดหรือมีแค่ 1 basal leaflet หรือ  2 basal leaflet  โดยส่วนใหญ่และใบมีความสัมพันธุ์กับ long petiole สรุปโดยรวมความแตกต่างของลักษณะของสายพันธุ์ที่กล่าวถึงข้างต้นดูจาก ” Note”  ในการอธิบายของสายพันธุ์ E.aemulans

รูปแบบใบ (Forms) ของ Encephalartos natalensis

1.Sikwebezi Form    2.Cato Ridge Form    3.Mnyathi Form    4.Greytown Form   5.Qhundeni Form   6.Krantzloof  Form   7.Melmoth  Form    8.Harding  Form    9.Umgeniensis Form    10.Port Edward Form   11.Jolivert Form

12.Port Shepstone Form   13.Malakatha Form   14.Highflats Form   15.Pietermaritzburg-Edendale Form

 

 

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress