ข้อมูล Encephalartos aemulans
Encephalartos aemulans Mr.Prince Farm (Line Id mr.prince.farm)
สายพันธุ์นี้ได้มีความชื่นชอบมาก่อนจนถึงรูปแบบ formของ E.natalensis และเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “woolly natalensis” ในปี ค.ศ. 1990, Piet J.Vorster ได้อธิบายมันเป็นสายพันธุ์ที่เกิดขึ้นใหม่ โดยคนเขียนตำราได้อ้างถึงความเหมือนของมันทั้ง male และ Female Cones
Cultivation : ต้องการดินที่ระบายน้ำดี ต้องการแสงอ่อนๆ ไม่ร้อนมาก
Habitat : เป็นพืชที่ชอบปลูกอยู่บนดินมากกว่าอยู่ในกระถางหรืออยู่ในถุง ปัญหานั้นเพราะว่าสภาวะเกี่ยวกับโคลนที่ว่าปกติมีแนวโน้มที่ข้างล่างของภาชนะที่ใส่อาจจะนำพาทำให้รากเน่าเปื่อยในสายพันธุ์นี้ พืชที่โตเต็มที่แล้วจะโตได้ดีในสภาวะแสงแดดอ่อนๆจนถึงแสงแดดเต็มที่ได้และก็จะไม่เกิดการเสียหายจากสภาวะความหนาวเย็นไม่มาก พืชสายพันธุ์นี้เป็นสายพันธุ์ที่โตเร็วมากและสายพันธุ์นี้ขยายพันธุ์โดยการแตกหน่อและจากเมล็ด อยู่ที่ตำบล Ngotshe
Stem(ลำต้น) : แผ่กิ่งก้านสาขา ลำต้นตั้งตรงได้ถึง 3 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 350 มิลลิเมตร และปกติทั่วไปจะไม่มีกิ่งก้านสาขาแม้ว่าจะผลิตหน่อขึ้นมาก็ตาม ปลายยอดจะปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาลแน่เต็มไปหมด
Leaves : ที่ผิวหน้าใบมีสีเขียวแก่และด้านหลังใบจะมีสีที่อ่อนกว่า ใบจะมีลักษณะตรง ก้านใบแข็งมีความยาว 1.2-1.45 เมตร
มีค่า pp-angle มีค่าอยู่ระหว่าง 100°-180° ตลอดแนวก้านใบ หรือเพิ่มขึ้นด้วยค่าที่กล่าวมาจากข้างบน
the pr-angle มีค่าอยู่ระหว่าง 20°-35° ที่ปลายก้านใบและ 70°-90° เมื่อใบนั้นอยู่บริเวณใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง Petiole
the s-angle จะมีค่าเพิ่มขึ้น จากประมาณ 0° ที่บริเวณปลายใบจะถีงค่าประมาณ -30° ถึง -50° สำหรับใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง Petiole
ใบย่อยจะมีการทับซ้อนกันเล็กน้อยที่บริเวณปลายก้านใบและตอนกลางของก้านใบเท่านั้น แต่จะไม่เกิดในส่วนของตอนล่างของก้านใบส่วนล่าง
Petiole : จะมีความยาว 70-110 มิลลิเมตร
Median leaflets : ขนาดแผ่นใบตรงบริเวณกลางก้านใบ มีความยาว 100-150 มิลลิเมตร ความกว้าง 10-18 มิลลิเมตร และลักษณะของใบจะคล้ายๆกับหนัง(leathery) มีความหนาไม่มาก มีปุ่ม(nodules)มีตั้งแต่น้อยถึงมากขึ้นที่บนผิวใบ ด้านบนผิวหน้าใบมีขอบใบมีการห่อตัวเข้าขึ้นอาจห่อขึ้นคล้ายยูหงาย(∪ concave) จากน้อยจนไปถึงมากได้ที่ทางแนวขวางและขอบใบมีการห่อตัวลงอาจห่อคล้ายยูคว่ำลง(∩ convex) จะมีค่าน้อยจนไปถึงมากได้ที่ทางแนวยาว หนามบริเวณขอบใบบน(phyllodistal) มีหนามอยู่ 1-3 หนามที่มีลักษณะแบบ(teeth) และมีหนามบริเวณขอบใบล่าง(phylloproximal) มีหนามอยู่ 1-3 หนาม และที่ปลายใบจะเป็นหนามแหลม
Basal leaflets : จะลดขนาดในในส่วนนี้ลงสู่ด้านล่างอาจจะไม่มากหรือบางทีก็เป็น series of spines ซึ่งสามารถลงมาถึงด้านล่างเป็นจำนวนมากถึงใบล่างสุด( the base of the leaf)
Cones :จะปรากฎในเดือนมกราคม ขึ้นกับเวลาเมื่อ pollination สามารถไปยังที่ต่างๆ the cone ของทั้ง 2 เพศจะมีความเหมือนกันมากในขนาด รูปร่างและที่ปรากฎ the conesของทั้งสองเพศมีความหนาแน่นของขนสีน้ำตาล ทั้ง 2 เพศจะมี 2-4 conesต่อฤดูกาลต่อต้นและการปรากฎจะติดกับโคนฐานเพราะ peducles(ระยะก้านของหัวถึงcones)เมื่อสมบูรณ์จะสังเกตุโดย the cataphyllysที่ปลายยอดของลำต้น
Male cones: จะมีสี Lemom-yellow ด้านล่างจะมีขนขึ้นเป็นชั้น ความยาวของ Cone 290-380 มิลลิเมตร ส่วนเส้นผ่านศูนย์กลาง 140-180 มิลลิเมตร และมี peducles 50-60 มิลลิเมตร Sporophylls bullae จะขึ้นมาเป็นสามเหลี่ยมปิรามิดและตรงกลางจะปกคลุมด้วย tubercles
Female cones :จะเป็นสีเขียวด้านล่างจะมีขนขึ้นเป็นชั้น Sporophylls bullae จะขึ้นมาเป็นสามเหลี่ยมปิรามิดและตรงกลางจะปกคลุมด้วย tubercles ความยาวของ Cone 350-410 มิลลิเมตร ส่วนเส้นผ่านศูนย์กลาง 200-230 มิลลิเมตร ทั้งหมดนี้จะเปลี่ยนเป็น spontaneouslyจากเดือนกันยายนถึงเดือนพฤษจิกายน จะถูกกลายมาเป็น 300 omnulesต่อconeโดยประมาณ
Seeds : จะเป็นสีแดงสว่าง(Bright red) ความยาวประมาณ 38 มิลลิเมตรและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มิลลิเมตร sarcotesta index 28% และ sarcotesta จะกลายมาเป็น mucilaginous เพื่อแตกออกมาขยายพันธุ์
Seed kernals : ความยาวประมาณ 23-27 มิลลิเมตรและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 16-18 มิลลิเมตร
Notes : สายพันธุ์นี้ยากที่จะบ่งชี้ในทีเดียวขณะที่ถ้าไม่เห็น Cone เพราะว่ามันอาจจะง่ายในการสับสนกับ Encephalartos lebomboensis ,Encephalartos msinganus ,บางformของEncephalartos natalensis ,Encephalartos senticosus Coneเป็นสิ่งสำคัญในการบ่งชี้ในหลายสายพันธุ์ ลักษณะในการชี้ชัดเกี่ยวกับ Cone มันอาจจะแยกสายพันธุ์ต่างๆตามที่สรุปมาตามนี้
Encephalartos aemulans : male and female Cone จะมีความคลายกันทางด้านขนาดและรูปทรงและมีความหนาแน่นของขนที่อยู่ภายนอกเป็นสีน้ำตาล ภายใต้ที่ชื่อว่า “wool” การขึ้นของ megasporophyll bullae จะถูกปกคลุมด้วยตุ่มเล็กๆ the microsporophyll bullae มีผิวที่เรียบ ภายใต้ “wool” ยกเว้นสำหรับการขึ้นที่ตรงกลาง factet ซึ่งจะปกลุมไปด้วยตุ่มเล็กๆ ความยาวของ the midian leaflet จะมากกว่า 6 เท่าของความกว้างที่ของใบ
Encephalartos lebomboensis : ทั้ง male and female Cone จะไม่มีขน”woolly” female coneจะมีผิวเรียบเพราะว่า megasporophyll bullae จะขึ้นเต็มพื้นที่ไปหมด the bullae ของ the microsporophylls จะไม่ยื่นออกมาโดยข้างในจะมีโครงสร้างเหมือนจงอยปากนก
Encephalartos msinganus : female cone มักจะมีผิวสีน้ำตาลภายใต้ลักษณะที่เป็น pyramid เกิดขึ้น bullae จะมีผิงที่เรียบ ยกเว้นสำหรับตรงกลาง facet ที่บริเวณขอบจะถูกปกคลุมไปด้วยตุ่มเล็กๆ the male cones จะไม่มีขนและthe sporophyll bullae จะยื่นออกมาโดยข้างในจะมีโครงสร้างเหมือนจงอยปากนก
Encephalartos natalensis : female cone แค่เริ่มก็รู้แล้ว มีขนสีน้ำตาลเข้มถึงสีแดงอมน้ำตาลซึ่งจะปกคลุมที่สามเหลี่ยม pyramidally และเป็นก้อนเล็กๆที่เป็นตุ่มเกิดขึ้น เมื่อ male conesเจริญเติบโตได้เต็มที่แล้วนั้นจะไม่มีขนและตุ่มที่เป็นก้อนนั้นของ Sporophylls โดยSporophylls bullae จะยื่นออกมาโดยข้างในจะมีโครงสร้างเหมือนจงอยปากนก ใบที่ส่วนกลางก้านที่ใหญ่ที่สุด( the median leaflet) ส่วนใหญ่จะมีขนาดที่ใหญ่กว่า 28 มิลลิเมตรในความกว้างและความยาวจะไม่น้อยกว่า 6 เท่าของความกว้าง
Encephalartos senticosus : female cone จะเริ่มมีขนสีน้ำตาลปกคลุมแน่นบนผิวบนซึ่งจะปรากฎที่พืชสมบูรณ์หลังจากนั้นจะเกิด Coneจนเต็มขนาด(full size) ด้านล่างของ pyramidally จะมีการขึ้นของ sporophyll bullae จะเรียบหรือขรุขระได้เล็กน้อย male cones จะไม่มีขนและ sporophyll bullaeจะยื่นออกมาเล็กน้อนเท่านั้น โดยข้างในจะมีโครงสร้างเหมือนจงอยปากนก