ข้อมูล Encephalartos lehmannii

Encephalartos Lehmanii (ได้แปลมาจากในหนังสือ South africa )

Encephalartos lehmannii
Encephalartos lehmannii

E. lehmannii มันไม่ง่ายในการค้นหา แต่ที่ค้นพบบันทึกไว้เป็นอย่างดีบางที สายพันธุ์  E.longifolius  และ  E. caffer มันถูกระบุและชื่อนี้ในทวีปยุโรปถูกสะสมใน South Africa ปัญหาการสะสมของพืชสายพันธุ์นี้ในช่วงศตวรรษที่ 18  ชื่อเริ่มต้นที่ซึ่งดูเหมือนการถูกประยุกษ์จนสุดท้ายมาเป็นชื่อ  E. lehmannii  ทีแรกมีชื่อ  Zamia pungens (ให้โดย Aiton in 1813) และ Zamia lehmanniana  (โดยสายพันธุ์นี้เริ่มเกิดขึ้นมีคำอธิบายโดย Christian Frederick(friedrich) Ecklon และ Karl (Carl) Ludwig Philipp Zeyher ในปี 1833-1834)และชื่อ  E. lehmannii เป็นชื่อสุดท้าย  (ให้โดยProf. J.G.C. Lehmann of Hamburg, Germany)

มีการให้ชื่อว่า Zamia lehmannii ในความมีชื่อเสียงของ J.G.C.Lehmann Lahmannในปีเดียวกันได้ส่งผ่านสายพันธุ์ของต้นกำเนิด Encephalartos ซึ่งเค้าเป็นคนที่ตั้งต้นตระกูลนี้ การส่งผ่านความรู้นี้ในไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่อธิบายของการให้เกียรติผู้ค้นพบในไปสู่ชื่อ Lehmannnii ในการเป็นภาษาลาติน

Lehmann ได้ถูกส่งผ่านมาทั้งสองชื่อคือ E.pungensand E.lehmannii ตามลำดับ  ในปี 1933 J. Hutchinson และ G. Rattray  ลดรูปชื่อ E. pungens ถึง E. lehmannii  ที่เวลาเดียวกันทุกคนได้ลดชื่อเป็น  E. lehmannii  ทั้งสายพันธุ์และรูปแบบ รวมถึง Zamia spinulosa, Zamia elongata, Zamia occidentalis, Encephalartos spinulosus, E. elongatus, E. mauritianus, E. lehmannii var. spinulosus, E. lehmannii var. dentatus and E. horridus var. trispinosa.

มันกลับมาเป็นความหลากหลายที่ชัดเจนว่ารูปแบบกว้างๆที่มีระหว่างพืชในกลุ่มด้วยกันเช่น  E. lehmannii โดย Hutchinson and Rattray and in 1965 Dr R.A. Dyer ได้แบ่ง E.lehmannii  ในความแตกต่างหลายสายพันธุ์คือ E.lehmanniiE.princeps and E. trispinosus.

จนกระทั่งความเป็นจริง E. lehmannii เกิดขึ้นในความสัมพันธ์ุของจำนวนเป็นจำนวนมาก  สถานะนี้ดูเหมือนว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและจำนวนพืชที่มีการนำออกไปไปจากป่าโดยนักสะสมต้นไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทั้งหมดนี้ถูกนำออกไปทางถนนเส้นหลัก จำนวนต้นไม้ส่วนใหญ่ที่หลงเหลือซึ่งเกิดขึ้นในหน้าผาสูงชันสูงแต่ก็ถูกนักปีนเขาขึ้นไปนำมาจนได้ E. lehmanniiเป็นที่ต้องการเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะมันถูกปกป้องป้องกันโดยเจ้าหน้าที่ต่างๆ และเจ้าของที่บริเวณนั้น สถานที่ที่อยู่อาศัยอาจจะมีหนึ่งหรือมากกว่าในการอนุรักษ์ซึ่งเมื่อพบเห็นอยู่เป็นกลุ่มของE. lehmannii สามารถเก็บความทรงจำอันสวยงามในสายพันธุ์นี้จากความหายากที่เกิดขึ้นได้

Habitat(ที่อยู่อาศัย) :

มันเจริญเติบโตบนภูเขา the Klein Winterhoek และ Groot Bruintjieshoogte ในพื้นที่ระบายน้ำของ the Groot และ Sundays Rivers พืชชนิดนี้สามารถเติบโตได้จากภูเขาหินทราย และด้านข้างเทือกเขาระหว่าง Karoo scrub vegetation มันมีบางสิ่งบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับสายพันธุ์นี้(“noorsdoring”) ซึ่งลักษณะของบางส่วนของ The Karoo    มันเกิดในสภาพอากาศในบริเวณที่แห้งซึ่งมีความร้อนมาในช่วงหน้าร้อน อุณหภูมิในช่วงกลางคืนจะต่ำถึงขีดสุดในช่วงฤดูหนาวและมีน้ำแข็งเกิดขึ้น ปริมาณฝนที่ตกส่วนใหญ่เกิดขึ้นในหน้าร้อน

สายพันธุ์นี้จะเติบโตส่วนใหญ่จะอยู่บนเทือกเขาและภูเขา เทือกเขาใกล้ชายฝั่งทางตะวันออกเฉียงใต้ติดกับเมือง East Cape province’s Great karoo จนมาถึง Willowmore and steytleville ถึงเมือง Uitenhage และ  Pearston and Bedford. ภูเขา the Klein Winterhoek และ Groot Bruintjieshoogte ในพื้นที่ระบายน้ำของ the Groot และ Sundays Rivers.พืชชนิดนี้สามารถเติบโตได้จากภูเขาหินทราย และด้านข้างเทือกเขาระหว่าง Karoo scrub vegetation  มีบางสิ่งบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับสายพันธุ์นี้(“noorsdoring”) ซึ่งลักษณะของบางส่วนของ The Karoo

Encephalartos lehmannii
Encephalartos lehmannii

map from google

Encephalartos lehmannii
Encephalartos lehmannii

 

Encephalartos lehmannii
Encephalartos lehmannii

การกระจายตัวของสายพันธุ์นี้ ขอบเขตทางธรรมชาติ    ในตำบล the Uitenhage มีการกระจายในพื้นที่ของ E. lehmannii  และ E. horridus อยู่ใกล้กัน แต่ไม่มี Hybrid เกิดขึ้น แต่มีรายงายงานว่าที่ North of Uitenhage เป็นพื้นที่ที่เกิดขึ้นนี้อาจจะมีการ hydridisation ของ Encephalartos Horridus ของบริเวณนี้ ซึ่งจะหายาก     ความคิดที่ว่า E. lehmannii สามารถเติบโตใกล้ชิดไปทาง  E. longifolius เพราะ เป็นตำแหน่งแหล่งเดียวกับที่เกิดสายพันธุ์ Encephalartos Horridus และ Encephalartos Longifolius แต่ว่า มีรายงานมาว่าไม่เกิดการ hybrid กับ E. longifolius     ปริมาณน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ปริมาณ 250-350 มิลลิเมตรซึ่งเกิดในช่วง Summer เป็นส่วนใหญ่  แต่ว่าพื้นที่นี้มีระยะเวลายาวนานมากในช่วงที่แล้ง  เมล็ดที่ผสมแล้วอาจจะถูกนักสะสมเก็บไปเป็นจำนวนมาก สายพันธุ์นี้ในธรรมชาติจะไม่ปรากฎมากนักเพราะมีการสูญเสียเป็นจำนวนมาก ตัวอ่อนของแมลงจำพวกเต่าทอง มด บางครั้งอาจจะมาเขมือบทำลายเมล็ด

Cultivation (การเพาะปลูก)

การเพาะปลูก Cones ให้ความสัมพันธ์ในสวนที่ดี และมีการรับรองความดีเยี่ยมถึงการผสมเกสรที่ได้คุณภาพ สายพันธุ์นี้จะมีสีที่ใบเป็น blue-grey เหมือนหลายๆสายพันธุ์ เมล็ดที่เกิดจาก Encephalartos lehmannii จะโตได้ไวมาก ต้นที่โตเต็มที่จะสามารถรับแสงได้เต็มวันและสามารถทนต่อน้ำแข็งตอนหน้าหนาวได้อย่างไม่มีปัญหา  มันเกิดในสภาพอากาศในบริเวณที่แห้งซึ่งมีความร้อนมาในช่วงหน้าร้อน อุณหภูมิในช่วงกลางคืนจะต่ำถึงขีดสุดในหน้าหนาวและมีน้ำแข็งเกิดขึ้น ปริมาณฝนที่ตกส่วนใหญ่เกิดขึ้นในหน้าร้อน  มันสามารถขยายพันธุ์ได้จากเมล็ดและการแยกหน่อ

ลำต้น(Stem)

Encephalartos lehmannii  เป็นปรงสายพันธุ์ที่ไม่สามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว ลำต้นธรรมดาจะสั้นและแข็งแรงมาก สามารถเติบโตขึ้นไปได้ยาว 1.5-2.0 เมตร และถ้าลำต้นที่สูงมากๆจะหายากมาก เส้นผ่านศูนย์กลางจะอยู่ระหว่าง 250-450 มิลลิเมตร ถึงแม้ว่าลำต้นจะมีลำต้นเดียวขึ้นมาแต่ว่าบางทีสามารถที่จะเห็นแบบไม่ธรรมดาโดยพืชจะมี 2หรือหลายลำต้นขึ้นมาได้ ลำต้นตั้งตรงขึ้นไปในอากาศบางครั้งอาจจะมีกิ่งก้านสาขาเกิดขึ้นได้หรืออาจจะมีหน่อเกิดที่ลำต้นขึ้นได้ กิ่งก้านสาขาส่วนใหญ่จะขึ้นมาจากพื้นดิน บางครั้งลำต้นจะมีการเลื้อยที่พื้นดินหรืออาจจะโค้งได้ บางครั้งจะพบว่าเกิด 2 หัว หรือ หลายหัวอยู่บนลำต้นเดียวกัน นี่เป็นเหตุผลในการทำให้การเจริญเติบโตของลำต้นหลักที่จะทำให้การเจริญเติบโตช้า ลำต้นก็จะขยายออกทางด้านข้างก็จะช้าด้วยเช่นเดียวกันแต่ที่บอกมาในกรณีหลายหัวนี้จะเกิดขึ้นได้ยาก ที่ปลายยอดจะปกคลุมโดยมิดชิดจาก cataphylls ที่สั้นๆและไม่เด่น จะมีความสัมพันธุ์กับใบที่ใหญ่รอบๆฐานและทำให้ปกป้องป้องกันลำต้น

ใบย่อยทั้งหมด(Leaves) :

 พอใบแข็งสมบูรณ์ สีของใบจะมีสี blue-grey ในเวลาเริ่มต้นที่อยู่บนใบ แต่ว่าเมื่อเวลาผ่านไป waxy ที่อยู่บนผิวใบจะหลุดออกไป ด้านหลังใบจะมีสีที่สว่างกว่าและอ่อนที่หน้าใบ ใบย่อยทั้งหมดจะตรงแต่บางครั้งอาจจะมี curve downwords ใกล้ปลายก้านขึ้นได้ ก้านใบย่อยทั้งหมดจะแข็งและใบทั้งหมดจะไม่เสียเป็นสัญลักษณ์ระหว่างที่มีการออก Cone หรือแตกใบใหม่  ก้านใบย่อยทั้งหมดจะมีความยาว 1.0-1.5 เมตร และไม่เหลือก้านใบบนต้นเมื่อต้นไม้มีอายุยืนยาว

the pp-angle มีค่า 0°-30° ที่ปลายใบแต่ว่าจะเพิ่มไป 60°-180°ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

the pr-angle มีค่า 30°-50° ที่ปลายใบแต่ว่าจะเพิ่มไป 60°-80°ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

the s-angle มีค่า +45°ถึง +90° ที่ปลายใบและมีการเปลี่ยนแปลงประมาณ -10° ถึง -20° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

บางทีใบย่อยทั้งหมดอาจจะมีการทับซ้อนแบบล่างทับบนที่บริเวณใกล้ปลายใบขึ้นได้แต่ทับซ้อนไม่มากและใบที่ถัดลงมาด้านล่างจะมีการทับซ้อนจากบนทับล่างประมาณครึ่งใบเกิดขึ้นได้

Petiole : มีความยาว 100-150 มิลลิเมตร และมีสี red-brown collar (น้ำตาลแดงเท่านั้น)

Median leaflets :  มีความยาว 120-180 มิลลิเมตร ความกว้าง 16-20 มิลลิเมตร ใบมีลักษณะ(คล้ายหนัง) leathery และมีปุ่มเล็กๆที่ใบ(nodules) ขอบใบจะไม่มีหนาม(จุดสังเกตุ)แต่บางกรณีอาจจะเกิด 1-2 หนามเล็กๆขึ้นได้(small pungent teeth)ที่ของใบล่างเท่านั้น(หนามประเภท lobe จะใหญ่สุดเกิดกับ E.horridus หนามประเภท thorn จะเป็นหนามที่เล็กลงมา เกิดกับพวก E.trispinosus,E.hildebrantii ส่วนหนามประเภท  pungent teeth จะเป็นหนามที่เล็กมากๆ ) ขอบใบจะหนาแต่ไม่มีการบิด ด้านบนใบทางขวางจะเว้าโค้งแบบ concave แต่ว่าส่วนด้านใบทางยาวจะตรง ที่ปลายใบย่อยสุดเป็นหนามแหลมคม

Basal leaflets : รูปแบบใบส่วนล่าง จะลดขนาดลงในใบฐาน แต่ว่าไม่ใช่แบบ spines และไม่เป็นหนามแหลมคม หรือถ้าเป็นหนามแหลมจะบอกมีแค่ 1 หนาม(spine) เท่านั้น ในส่วนช่วงใบล่างสุด

Cones : ทั้ง 2 เพศ สายพันธุ์นี้สามารถผลิตได้ 1 coneต่อฤดูกาลต่อต้น Cones มีขนที่ขนภายนอกสีดำแดงปกคลุมด้วยผิวทั้งหมดสีเขียว  Cones เกิดขึ้นมักจะเกิดในเดือนธันวาคม

Male cones : ความยาว 250-450  มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์ 80-120 มิลลิเมตร  และมี peduncle 25-80 มิลลิเมตร the cones มี a fresh mass น้ำหนัก 0.9-2.0 กิโลกรัม และ 420-570 sporophylls .Pollen shedding จะอยู่ในระหว่าง มีนาคมถึงพฤษภาคม

Female cones : ความยาว 415-520 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์ 200-250 มิลลิเมตร และมี peduncle 60-75 มิลลิเมตร แต่สังเกตุได้ง่ายโดย cataphylls ของปลายยอด A cone มีน้ำหนักสดของ 9.1-15.0 kg และ 200-265 sporophylls. Cones ที่พร้อมผสม spontaneously ระหว่าง ตุลาคมถึงพฤษจิกายน มี 270-490 omnules

Notes


  • หน้าหนาวสามารถ ทนลมหนาว อากาศเย็นจัดจนเป็นน้ำแข็งเกาะที่ใบได้ หน้าร้อนทนต่ออากาศร้อนมากๆ เป็นพืชที่ทนทานมากๆๆ ในธรรมชาติ ยังเหลืออีกมากพอสมควรเป็นไม้ขนาดกลางสูง  อาจจะเกิดหนามที่ใบได้ 1-2 หนาม Basal leaflets ของช่วงหนามข้างล่างลดรูปคือขนาดความยาวลดลง แต่จะไม่บิด แต่ใบสุดท้ายที่อยู่ล่างสุดอาจจะบิดหรือไม่บิดก็ได้หัวของ Encephalartos Lehmanii จะเป็นสีน้ำตาลแดง หรือน้ำตาลส้มจัดใบจะมีปุ่มเล็กๆเกิดที่ผิวใบ
  • Encephalartos Lehmannii มีอยู่ 3 Form ที่อาจจะเห็นในสายพันธุ์ชนิดนี้
    1. Kirkwood Form   ลักษณะใบจะใหญ่และใบจะชิดกัน
  • 2. Paardeport Form ลักษณะปลายก้านใบจะโค้งเป็นหางหมูแบบ  E.horridus
  • 3.Jansenville Form ลักษณะใบจะเรียวแหลม ใบย่อยจะทำเป็นตัว V-shape ระหว่างใบ ประมาณ 30-40 องศา และยังเป็น formที่ฟ้าที่สุดใน 3 form

ข้อสังเกตุ

  • การทับซ้อนของ Encephalartos Lehmannii Paardepart form ต่างจาก Encephalartos Trisprinosus (no thorn form)
  • 1.ขนาดใบ ความกว้าง ความยาว ของใบ โดยEncephalartos Lehmannii จะเล็กกว่า กว้างและยาว น้อยกว่า
  • 2.จะมีปุ่มเล็กๆที่เกิดขึ้นบนใบของ Encephalartos Lehmannii ส่วน Encephalartos Trisprinosus จะไม่มีปุ่มเล็กๆบนใบ
  • 3.หัวของ Encephalartos Lehmannii จะเป็นสีน้ำตาลแดง หัวของ Encephalatos Trisprinosus เป็นสีครีม

ในกลุ่มที่มีสีใบเขียวอมฟ้าที่มีใบขนาดกว้าง(wide leaflets) ส่วนที่มาจากโซน Eastern Cape จะมี (Encephalartos horridus, Encephalartos lehmannii, Encephalartos princeps, Encephalrtos trisprinosus ) และอีกส่วนหนึ่งที่มาจากกลุ่ม transvaal counterparts ( E.cupidus, E.dolomiticus, E.dyerianus, E.eugene-maraisii, E.hirsutus, E.middleburgensis,E.nubimontanus)

Encephalartos lehmannii, Encephalartos princeps และรูปแบบที่ขยายออกไปพวก mutant และบางรูปแบบของ Encephalartos trisprinosus  อาจจะมีการสับสนเกิดขึ้น เมื่อไม่มี cone ทั้งหมดนี้จะถูกอธิบายให้ตามข้างล่างนี้ ที่สามารถชี้ชัดเป็นกรณีไป

Encephalartos lehmannii : S-angle จะมีค่าเป็นบวก ที่ปลายใบและจะมีค่าเป็นลบที่ใกล้กับ the base of the leaf blade ใบย่อยทั้งหมดจะมีปุ่มเล็กๆเกิดขึ้นที่หน้าใบ(many nodules) ไม่มีหนามที่ขอบใบ แม้ว่าบางทีจะเกิดขึ้นแต่ก็เป็นแค่ฟันเล็กๆที่เรียกว่า( pungent teeth)ที่บางครั้งอาจจะมีได้บ้างเล็กน้อยแต่จะไม่สะดุดตา

Encephalartos princeps : ใบจะมีค่า S-angle เป็นบวกทั้งหมด ผ่านทางความยาวของใบซึ่งค่าที่มากที่สุดอยู่ที่ปลายใบคือ +90° หน้าใบย่อยจะไม่มีปุ่มเกิดขึ้นที่ใบ(not have nodules) ขอบใบย่อยจะไม่มีหนามเกิดขึ้นแต่บางครั้งอาจเกิดขึ้นได้ แต่ก็เป็นแค่ฟันเล็กๆที่เรียกว่า( pungent teeth)ที่บางครั้งอาจจะมีได้บ้างเล็กน้อยแต่จะไม่สะดุดตา

Encephalartos trisprinosus : S-angle จะมีค่าเป็นบวก ที่ปลายใบและจะมีค่าเป็นลบที่ใกล้กับ the base of the leaf blade ใบย่อยทั้งหมดจะไม่มีปุ่มเล็กๆเกิดขึ้นที่หน้าใบ(no many nodules) ใบจะมี 1-2 prominent lobs เกิดขึ้น ซึ่งจะไม่มีการบิด( No twist)ที่หน้าใบหลัก และขอบใบก็จะไม่มีการโค้งลง(margin do not curve markly downwards)

Encephalartos lehmannii

This species is original decribed by Christian Frederick (Fredrich) Ecklon and Karl (Carl) Ludwig Philipp Zeyher in 1834 and given the name Zamia lehmannii in honour of J.G.C.Lehmann. Lehmann. in the same year, transferred the species to the genus Encephalartos, which he had  just created. This transfer necessitated a change in the spelling of the epithet to lehmannii, in accordance with the Latin rules.

note Professor J.G.C. Lehmannii, German botanist who studied cycads and decribed the genus Encephalartos

Habitat:

The species grows mostly on hill and mountains in the Eastern Cape from close to willowmore and Steytlerville in the west to close to Uilenhage and Pearston in the east. It often forms part of a dry scrub vegetation rich in Euphorbia species. The annual rainfall of the area is 250-350 mm. occuring mainly in summer. but the region often endures long droughts. the distribution area of the species borders on those of Encephalartos longifolius and Encephalartos horridus in certain areas and some hybridisation with Encephalartos horridus occasionally appears to  take place. seedling regeneration is satisfactory and despite fairly severe pressure from collectors.The existence of the species in the wild does not appear to be much endangered. Larvae of the beetle

Cultivation :

This spcies cones relatively often in well-tended gardens and responds best to dry pollination.Of the blue-green Encephalartos species,seedlings of Encephsalartos lehmannii rate as one of the fastest growers. Mature plants thrive in full sunlight and they are both frost and drought resistant. It is readily propagated from seed and suckers.

DESCRIPTION :

Stem:

Arborescent,erect,It can attain a length of up to 200-250 cm and a diameter of 30-45 cm. the aerial stem sometimes branches, is erect and suckers freely.suckering from the base and forming two and more stems.  The stem apex is covered by short and inconspicuous cataphylls.

nodules(ปุ่มเล็กๆที่อยู่ที่ผิวหน้าใบ)

reference Nat Grobbelaar p.231,p232, p.233,p.234

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress